http://www.siamsport.co.th/_ImagesNews/130502C2X11790.jpg
การลีลาศหรือเต้นรำ (Dance) เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายไปตามจังหวะดนตรี เพื่อแสดงออกทางด้านอารมณ์และความหรรษารื่นเริง การเต้นรำจึงมีประวัติอันยาวนาน คู่กับมนุษยชาติเริ่มจากมนุษย์ในยุคโบราณมีการเต้นรำ หรือฟ้อนรำเพื่อบูชาเทพเจ้าเพื่อขอพรและขอความคุ้มครอง เป็นกิจกรรมบันเทิงควบคู่กันไปกับการกระทำพิธีกรรมอันเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต ถือเป็นรูปแบบของการเต้นรำดั้งเดิม (Primitive dance) เมื่อสังคมเจริญก้าวหน้าขึ้น มนุษย์มีการรวมตัวกันตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนที่มีการพัฒนาทางด้านเกษตรและการเลี้ยงสัตว์ การเต้นรำดั้งเดิมก็ได้รับการพัฒนาเป็นการเต้นรำพื้นบ้าน (Folk dance) และเริ่มเป็นกิจกรรมสังคม ที่แยกจากเรื่องของพิธีกรรมทางศาสนาและลัทธิความเชื่อมา เป็นกิจกรรมนันทนาการเพื่อความบันเทิง และเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คณะเพื่อนฝูง (Social relationship) ดังนั้นการเต้นรำพื้นบ้านได้รับความนิยมกว้างขวางขึ้นในสังคมเมืองมีการพัฒนาการเต้นรำพื้นบ้าน เป็นการเต้นรำที่เรียกว่า ลีลาศ (Ballroom dance) โดยมีกำเนิดที่ประเทศอังกฤษ ในปลายศตวรรษที่ 18 และแพร่หลายไปทั่วโลก จนถึงปัจจุบัน
ประวัติการลีลาศหรือเต้นรำ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันกับเต้นรำแบบอื่นๆ มาก เช่น การเต้นระบำบัลเล่ย์ การเต้นรำพื้นเมือง ฯลฯ จึงขอสรุปโดยแบ่งยุคการเต้นรำออกเป็น 6 ยุคดังนี้
1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์
2. ยุคโบราณ
3. ยุคกลาง
4. ยุคฟื้นฟู
5. ยุคโรแมนติค
6. ยุคปัจจุบัน
1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์
2. ยุคโบราณ
3. ยุคกลาง
4. ยุคฟื้นฟู
5. ยุคโรแมนติค
6. ยุคปัจจุบัน
การเล่นพื้นเมือง (Folk Dance)
การเต้นรำประจำท้องถิ่น ถูกนำไปใช้ในการเต้นรำของความสำคัญทางประวัติศาสตร์ในวัฒนธรรมของยุโรปในช่วงก่อนศตวรรษที่ 20และแพร่หลายตลอดมาทุกยุคทุกสมัย
การเต้นรำพื้นเมืองของไทย
การแบ่งประเภทของการแสดงพื้นเมืองของไทย โดยทั่วไปจะแบ่งตามส่วนภูมิภาค ดังนี้
๑. การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ
เป็นลักษณะศิลปะที่มีการผสมผสานกันระหว่างชนพื้นเมืองชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไทยล้านนา ไทยเงี้ยว ไทยใหญ่ เงี้ยว รวมถึงพวกพม่า
- ฟ้อนเล็บ เป็นการฟ้อนแบบดั้งเดิมที่มีความสวยงาม โดยผู้ฟ้อนสวมเล็บสีทอง
- ฟ้อนเทียน เป็นการฟ้อนแบบดั้งเดิมเช่นเดียวกับฟ้อนเล็บ แต่จะฟ้อนเวลากลางคืน
เป็นลักษณะศิลปะที่มีการผสมผสานกันระหว่างชนพื้นเมืองชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไทยล้านนา ไทยเงี้ยว ไทยใหญ่ เงี้ยว รวมถึงพวกพม่า
- ฟ้อนเล็บ เป็นการฟ้อนแบบดั้งเดิมที่มีความสวยงาม โดยผู้ฟ้อนสวมเล็บสีทอง
- ฟ้อนเทียน เป็นการฟ้อนแบบดั้งเดิมเช่นเดียวกับฟ้อนเล็บ แต่จะฟ้อนเวลากลางคืน
๒.การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง
เป็นการแสดงพื้นเมืองที่สื่อให้เห็นการประกอบอาชีพ
- รำกลองยาว
เป็นการแสดงพื้นเมืองที่สื่อให้เห็นการประกอบอาชีพ
- รำกลองยาว
๓. การแสดงพื้นเมืองของอีสาน
- เซิ้งบั้งไฟ เป็นการฟ้อนในพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และในพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการขอฝน
- เซิ้งบั้งไฟ เป็นการฟ้อนในพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และในพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการขอฝน
๔. การแสดงพื้นเมืองของใต้
จังหวะที่เร่งเร้า กระฉับกระเฉง ผิดจากภาคอื่นๆ และเน้นจังหวะมากกว่าท่วงทำนอง โดยมีลักษณะที่เด่นชัดของเครื่องดนตรีประเภทตีให้จังหวะเป็นสำคัญ
- โนรา เป็นการแสดงแบบโบราณที่มีมาช้านาน นิยมแสดงเพื่อความเป็นสิริมงคล
ตัวอย่างวิดีโอต่างๆ
ที่มา
http://www.vcharkarn.com/vcafe/145917http://www.natasinthai.com/kansadan.htmlจัดทำโดย
นักเรียนห้อง ม.6/3
นางสาวบุษราภรณ์ ภิรมย์ชัยกิจ เลขที่ 2
นางสาวสิรี ตรียาพงษ์ เลขที่ 4
นางสาวสุขุมาล กิจสำเร็จ เลขที่ 5
นายณัฐพงศ์ ติยะจามร เลขที่ 11
นายนัทธวิศว์ ธารทองวงศ์ เลขที่ 16
นายศิรสิทธิ์ ลักษมีไพฑูรย์ เลขที่ 22